วิธีบริหารพนักงาน 4 ประเภท


พนักงาน 4 ประเภทในองค์กร

    บริษัทที่มีการปฏิบัติงานมานานๆ ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานมาสักระยะหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น การใช้เครื่องมือ competency และ BSC  มาพอสมควร  ซึ่งเครื่องมือต่างๆเหล่านี้ สามารถนำมาแปลผล เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารคนได้ว่า คนในองค์การของเรา มีศักยภาพและสามารถเติบโตได้ในอนาคตหรือไม่  และยังเป็นการสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานที่มีความรู้และความสามารถได้มี โอกาสได้เติบโตเร็วกว่าพนักงานที่มีศักยภาพต่ำกว่า นอกจากนั้นแล้วยังมีส่วนกระตุ้นให้กับพนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานระดับ ปานกลางให้เกิดความพยายามที่จะพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ ทัดเทียมเหมือนกับพนักงานที่มีศักยภาพสูงอีกด้วย  ซึ่งผู้เขียนอยากจะนำเสนอการใช้เครื่องมือดังกล่าว มาทำให้เกิดผลดีต่อองค์การอย่างไร และสามารถแยกพนักงานที่มีศักยภาพสูง และพนักงานที่มีศักยภาพต่ำ เพื่อจะได้วิเคราะห์คนในองค์การได้ถูกต้องว่า คนที่มีอยู่ ณ ปัจจุบัน สามารถที่จะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจได้หรือไม่
    สำหรับการวิเคราะห์คนในองค์การ ผู้บริหารและฝ่ายบริหารบุคคลากร ต้องมีความเข้าใจในเรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลบ้าง ซึ่งจะทำให้เกิดมุมมองในการบริหารคนเชิงลึกไปถึงระดับรายบุคคล  ก็จะทำให้การวิเคราะห์คนมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด และจะส่งผลให้องค์การได้มีทิศทางที่ชัดเจนทางการบริหาร ไม่ว่าจะเป็นการกำหนด  กลยุทธ์เชิงธุรกิจ  การแต่งตั้ง/โยกย้าย  และรวมทั้งการจัดอัตรากำลังได้เหมาะสมยิ่งขึ้น  ในกระบวนการที่กล่าวมานี้ จะมีส่วนทำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันในเชิงธุรกิจทั้งสิ้น
    ยิ่งมีพนักงานที่มีศักยภาพสูงมากในองค์การ ก็จะทำให้ธุรกิจของบริษัทมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว  ลูกค้าเกิดความพอใจ  สินค้าได้มาตรฐาน  ตรงตามความต้องการของลูกค้า คุณภาพสินค้าทุกชิ้นไม่มีตำหนิ ไม่ต้องเสียเวลาในการผลิตซ้ำใหม่  ทำให้ต้นทุนในการผลิตสินค้าต่ำกว่าบริษัทคู่แข่ง เมื่อเป็นลักษณะนี้ บริษัทก็สามารถกำหนดราคาขายที่ทำให้บริษัทของเราได้กำไรได้มากกว่าบริษัท อื่น เป็นต้น

 

 

จาก แผนภูมิกราฟข้างต้น แกนตั้ง เป็นส่วนที่ใช้ในการประเมินศักยภาพพนักงานของบริษัท โดยใช้เครื่องมือ competency เป็นฐาน  ส่วนในแกนนอนเป็นส่วนที่ใช้ในการประเมินการปฏิบัติงานของพนักงาน บางบริษัทอาจจะให้ BSC เป็นเครื่องมือในการวัด
เมื่อเรานำผลการประเมินมาเป็นตัวชี้วัด จะทำให้เกิดพฤติกรรมพนักงานออกเป็น 4 ลักษณะ คือ
1.  พนักงานที่เป็น Star คือ พนักงานที่มีศักยภาพสูง และผลการประเมินการปฏิบัติสูง  ซึ่งองค์การอยากได้พนักงานในส่วนนี้มากๆ แต่ในความเป็นจริง พนักงานในกลุ่มนี้มีเพียงแค่ 10 % เท่านั้นขององค์การ และถ้าผู้บริหารดูแลรักษาไม่ดี พนักงานในกลุ่มนี้ ก็จะออกไปอยู่ที่องค์การอื่น เพราะว่าเป็นที่ต้องการของบริษัทคู่แข่ง   ผู้บริหารจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับพนักงานกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง การขึ้นค่าจ้างประจำปี  การจ่ายโบนัส
และการให้ความก้าวหน้าในสายอาชีพ  เป็นต้น
2. พนักงานที่เป็น Problem Child คือ พนักงานที่มีศักยภาพสูง แต่ผลการปฏิบัติงานต่ำ ไม่ได้ไปตามศักยภาพ จึงทำให้เกิดปัญหาในองค์การ เหมือนกับ นักศึกษาในมหาวิทยาลัย นั่งหลับแต่ทำข้อสอบได้  พนักงานในกลุ่มนี้มีความมั่นใจในตัวเองสูง มีคนรุ่นใหม่ หรือ Gen Y  ไม่ชอบการบังคับ  ชอบงานอิสระ หัวหน้าต้องมีเหตุผล ในการสั่งงาน  เมื่อองค์การมีพนักงานที่มีพฤติกรรมในลักษณะนี้ จะต้องมีความเข้าใจถึงจิตใจแต่ละคน ว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมา อยู่ในระดับไหน สามารถปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาได้หรือไม่ โดยส่วนใหญ่ ในการแก้ปัญหาในจุดนี้ ควรจะให้โอกาสพนักงานที่มีศักยภาพสูงนี้ได้มีการโยกย้ายไปอยู่ในส่วนงานอื่น ก่อน  อาจจะต้องไปอยู่กับหัวหน้าที่มีแนวคิด มีความเข้าใจ ในการบริหารจัดการคนรุ่นใหม่  แล้วทำการประเมินผลการปฏิบัติงานว่า พฤติกรรมเปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ้นหรือไม่
3. พนักงาน Work Horse คือ พนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานดีมาก แต่ผลการประเมินศักยภาพค่อนข้างต่ำ  พฤติกรรมพนักงานลักษณะนี้ เป็นคนที่รักองค์การ อยู่กับบริษัทมาตั้งแต่เริ่มแรก ไม่อยากลาออกไปอยู่ที่อื่น มุ่งมั่นที่จะทำงานที่ตนเองทำตั้งแต่เริ่มแรก พูดถึงบริษัทของตนเองไปในทางที่เป็นบวก เป็นที่รักใคร่ของผู้บริหาร แต่ไม่สามารถพัฒนาขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงกว่านี้ได้ เพราะว่า อาจจะเป็นเพราะว่า คุณวุฒิที่จบมาไม่ตรงตามสาขาที่ปฏิบัติงาน หรือ จบต่ำกว่าปริญญาตรี ซึ่งต้องใช้เวลาในการพัฒนา ปัญหาอุปสรรคอยู่ตรงจุดนี้  ถ้าธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง  พนักงานในส่วนนี้จะต้องมีวิธีการจัดการอย่างไรให้รวดเร็วขึ้น  องค์การโดยส่วนใหญ่จะมีงบประมาณบางส่วนในการพัฒนาและกำหนดระยะเวลาให้ พนักงานในกลุ่มนี้ได้พัฒนาตัวเอง เพราะว่าในส่วนที่ดีของพนักงานกลุ่มนี้ ผู้บริหารมีความพอใจในเรื่อง ทัศนคติที่ดีต่อองค์การอยู่แล้ว
4. พนักงาน Dead Wood คือ พนักงานที่มีทั้งผลการปฏิบัติงานและศักยภาพต่ำทั้งสองด้าน อาจจะเป็นพนักงานที่มีปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย ทำงานไม่ไหว หรือเป็นเพราะว่า พนักงานระบบการทำงาน มีทัศนคติไม่ดีต่อผู้บริหาร การพิจารณาในรายละเอียด ผู้บริหารต้องศึกษาพฤติกรรมเป็นรายบุคคล ด้วยว่า เกิดจากระบบงานในองค์การที่ไม่มีความยุติธรรมหรือไม่ หรือว่าเกิดจากพฤติกรรมของตัวพนักงานเอง ในทางปฏิบัติพนักงานในกลุ่มนี้ มีจำนวนพอๆ กับ กลุ่มพนักงานที่เป็น Star
ผู้ บริหารควรจะต้องมีมาตรการอะไรออกมาให้เกิดความชัดเจน สำหรับพนักงานในกลุ่มนี้อีกเช่นกัน มิฉะนั้นจะเกิดพฤติกรรมเอาอย่าง ทำให้พนักงานทั้งองค์การมีปัญหาได้ ซึ่งจะขอนำเสนอแนวทางต่อไป
เมื่อ องค์การทราบถึงพฤติกรรมพนักงานแล้ว ในทางปฏิบัติผู้บริหารจะมีวิธีการแก้ปัญหาพฤติกรรมพนักงานดังกล่าวได้อย่าง ไร เพื่อที่จะไม่ให้พนักงานเกิดความรู้สึกที่ไม่ดีต่อองค์การและผู้บริหาร ผู้เขียนขออนุญาตเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาพนักงานทั้ง 4 พฤติกรรม ดังต่อไปนี้

    จากแผนภูมิกราฟข้างต้น แกนตั้ง เป็นส่วนที่ใช้ในการประเมินศักยภาพพนักงานของบริษัท โดยใช้เครื่องมือ competency เป็นฐาน  ส่วนในแกนนอนเป็นส่วนที่ใช้ในการประเมินการปฏิบัติงานของพนักงาน บางบริษัทอาจจะให้ BSC เป็นเครื่องมือในการวัด
    เมื่อเรานำผลการประเมินมาเป็นตัวชี้วัด จะทำให้เกิดพฤติกรรมพนักงานออกเป็น 4 ลักษณะ คือ
  1.  พนักงานที่เป็น Star คือ พนักงานที่มีศักยภาพสูง และผลการประเมินการปฏิบัติสูง  ซึ่งองค์การอยากได้พนักงานในส่วนนี้มากๆ แต่ในความเป็นจริง พนักงานในกลุ่มนี้มีเพียงแค่ 10 % เท่านั้นขององค์การ และถ้าผู้บริหารดูแลรักษาไม่ดี พนักงานในกลุ่มนี้ ก็จะออกไปอยู่ที่องค์การอื่น เพราะว่าเป็นที่ต้องการของบริษัทคู่แข่ง   ผู้บริหารจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับพนักงานกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง การขึ้นค่าจ้างประจำปี  การจ่ายโบนัส
และการให้ความก้าวหน้าในสายอาชีพ  เป็นต้น
  2. พนักงานที่เป็น Problem Child คือ พนักงานที่มีศักยภาพสูง แต่ผลการปฏิบัติงานต่ำ ไม่ได้ไปตามศักยภาพ จึงทำให้เกิดปัญหาในองค์การ เหมือนกับ นักศึกษาในมหาวิทยาลัย นั่งหลับแต่ทำข้อสอบได้  พนักงานในกลุ่มนี้มีความมั่นใจในตัวเองสูง มีคนรุ่นใหม่ หรือ Gen Y  ไม่ชอบการบังคับ  ชอบงานอิสระ หัวหน้าต้องมีเหตุผล ในการสั่งงาน  เมื่อองค์การมีพนักงานที่มีพฤติกรรมในลักษณะนี้ จะต้องมีความเข้าใจถึงจิตใจแต่ละคน ว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมา อยู่ในระดับไหน สามารถปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาได้หรือไม่ โดยส่วนใหญ่ ในการแก้ปัญหาในจุดนี้ ควรจะให้โอกาสพนักงานที่มีศักยภาพสูงนี้ได้มีการโยกย้ายไปอยู่ในส่วนงานอื่น ก่อน  อาจจะต้องไปอยู่กับหัวหน้าที่มีแนวคิด มีความเข้าใจ ในการบริหารจัดการคนรุ่นใหม่  แล้วทำการประเมินผลการปฏิบัติงานว่า พฤติกรรมเปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ้นหรือไม่3. พนักงาน Work Horse คือ พนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานดีมาก แต่ผลการประเมินศักยภาพค่อนข้างต่ำ  พฤติกรรมพนักงานลักษณะนี้ เป็นคนที่รักองค์การ อยู่กับบริษัทมาตั้งแต่เริ่มแรก ไม่อยากลาออกไปอยู่ที่อื่น มุ่งมั่นที่จะทำงานที่ตนเองทำตั้งแต่เริ่มแรก พูดถึงบริษัทของตนเองไปในทางที่เป็นบวก เป็นที่รักใคร่ของผู้บริหาร แต่ไม่สามารถพัฒนาขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงกว่านี้ได้ เพราะว่า อาจจะเป็นเพราะว่า คุณวุฒิที่จบมาไม่ตรงตามสาขาที่ปฏิบัติงาน หรือ จบต่ำกว่าปริญญาตรี ซึ่งต้องใช้เวลาในการพัฒนา ปัญหาอุปสรรคอยู่ตรงจุดนี้  ถ้าธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง  พนักงานในส่วนนี้จะต้องมีวิธีการจัดการอย่างไรให้รวดเร็วขึ้น  องค์การโดยส่วนใหญ่จะมีงบประมาณบางส่วนในการพัฒนาและกำหนดระยะเวลาให้ พนักงานในกลุ่มนี้ได้พัฒนาตัวเอง เพราะว่าในส่วนที่ดีของพนักงานกลุ่มนี้ ผู้บริหารมีความพอใจในเรื่อง ทัศนคติที่ดีต่อองค์การอยู่แล้ว4. พนักงาน Dead Wood คือ พนักงานที่มีทั้งผลการปฏิบัติงานและศักยภาพต่ำทั้งสองด้าน อาจจะเป็นพนักงานที่มีปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย ทำงานไม่ไหว หรือเป็นเพราะว่า พนักงานระบบการทำงาน มีทัศนคติไม่ดีต่อผู้บริหาร การพิจารณาในรายละเอียด ผู้บริหารต้องศึกษาพฤติกรรมเป็นรายบุคคล ด้วยว่า เกิดจากระบบงานในองค์การที่ไม่มีความยุติธรรมหรือไม่ หรือว่าเกิดจากพฤติกรรมของตัวพนักงานเอง ในทางปฏิบัติพนักงานในกลุ่มนี้ มีจำนวนพอๆ กับ กลุ่มพนักงานที่เป็น Starผู้บริหารควรจะต้องมีมาตรการอะไรออกมาให้เกิดความชัดเจน สำหรับพนักงานในกลุ่มนี้อีกเช่นกัน มิฉะนั้นจะเกิดพฤติกรรมเอาอย่าง ทำให้พนักงานทั้งองค์การมีปัญหาได้ ซึ่งจะขอนำเสนอแนวทางต่อไป
    เมื่อองค์การทราบถึงพฤติกรรมพนักงานแล้ว ในทางปฏิบัติผู้บริหารจะมีวิธีการแก้ปัญหาพฤติกรรมพนักงานดังกล่าวได้อย่าง ไร เพื่อที่จะไม่ให้พนักงานเกิดความรู้สึกที่ไม่ดีต่อองค์การและผู้บริหาร ผู้เขียนขออนุญาตเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาพนักงานทั้ง 4 พฤติกรรม ดังต่อไปนี้

 

 

จาก แผนภูมิด้านบน วิธีการแก้ปัญหาและกลวิธีการจัดการพนักงานทั้ง 4 แบบ โดยเริ่มจากพนักงานที่เป็นพนักงานที่องค์การต้องการมากที่สุด คือ
พนักงาน ที่เป็น Star ตามทฤษฎีการบริหารจัดการให้ผู้บริหารคอยให้คำแนะนำ ปรึกษาพนักงานกลุ่มนี้ตลอดเวลา และสิ่งที่จะต้องทำคือ การให้ความสำคัญในการให้พนักงานกลุ่มนี้ได้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น ที่เกี่ยวกับกลยุทธ์ขององค์การ รวมทั้งการพิจารณาให้ได้มีโอกาสได้ไป อบรมสัมมนา และศึกษาต่อ ในหลักสูตรสำคัญ ๆ ที่มีส่วนให้พนักงานเกิดความภาคภูมิใจ ก็จะมีส่วนช่วยให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการทำงานสำหรับคนกลุ่มนี้ด้วย
พนักงาน ที่เป็น Problem Child พนักงานกลุ่มนี้มีความสามารถ มีศักยภาพ แต่อาจจะขาดด้าน การให้ความรู้ การสอนงานอย่างใกล้ชิด สำหรับประเด็นนี้หัวหน้าควรจะให้ความรักก่อนให้ความรู้  ซึ่งจะมีส่วนผลักดันให้พนักงานกลุ่มเกิดความเชื่อมั่นในตัวผู้บังคับบัญชา มากขึ้น และยินดีที่จะปฏิบัติตามคำแนะนำของหัวหน้า
พนักงาน Work Horse เป็นพนักงานที่มีทัศนคติดีต่อองค์การ แต่ยังขาดทักษะความรู้ในเชิงธุรกิจและทางการบริหาร สำหรับพนักงานในส่วนนี้จำเป็นต้องเสริมด้านการพัฒนาศักยภาพ ผู้บริหารควรจะพิจารณาส่งพนักงานกลุ่มนี้ได้รับการสัมมนา/อบรมเพิ่มเติมใน ส่วนที่เป็น gap จากพื้นฐานของพนักงานเป็นคนที่มีทัศนคติดีอยู่แล้ว จะมีส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาได้ง่ายขึ้นกว่าพนักงานกลุ่มอื่น
พนักงาน Dead Wood พนักงานในกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่มีปัญหาด้านความรู้ ความสามารถ และการเติบโตเป็นระดับหัวหน้าในอนาคต  ซึ่งพนักงานส่วนใหญ่ไม่ค่อยพัฒนาตนเอง มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อองค์การ มีปัญหากับหน้ามาตลอด ตามแนวทางของทฤษฎี ให้มีการลงโทษทางวินัย ถ้าไม่มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น บริษัทจะต้องมีมาตรการในการเลิกจ้างจากการเป็นพนักงาน เพื่อจะได้ไม่เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีของพนักงานในองค์การ

    จากแผนภูมิด้านบน วิธีการแก้ปัญหาและกลวิธีการจัดการพนักงานทั้ง 4 แบบ โดยเริ่มจากพนักงานที่เป็นพนักงานที่องค์การต้องการมากที่สุด คือ
1.พนักงาน ที่เป็น Star ตามทฤษฎีการบริหารจัดการให้ผู้บริหารคอยให้คำแนะนำ ปรึกษาพนักงานกลุ่มนี้ตลอดเวลา และสิ่งที่จะต้องทำคือ การให้ความสำคัญในการให้พนักงานกลุ่มนี้ได้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น ที่เกี่ยวกับกลยุทธ์ขององค์การ รวมทั้งการพิจารณาให้ได้มีโอกาสได้ไป อบรมสัมมนา และศึกษาต่อ ในหลักสูตรสำคัญ ๆ ที่มีส่วนให้พนักงานเกิดความภาคภูมิใจ ก็จะมีส่วนช่วยให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการทำงานสำหรับคนกลุ่มนี้ด้วย

2.พนักงานที่เป็น Problem Child พนักงานกลุ่มนี้มีความสามารถ มีศักยภาพ แต่อาจจะขาดด้าน การให้ความรู้ การสอนงานอย่างใกล้ชิด สำหรับประเด็นนี้หัวหน้าควรจะให้ความรักก่อนให้ความรู้  ซึ่งจะมีส่วนผลักดันให้พนักงานกลุ่มเกิดความเชื่อมั่นในตัวผู้บังคับบัญชา มากขึ้น และยินดีที่จะปฏิบัติตามคำแนะนำของหัวหน้า

3.พนักงาน Work Horse เป็นพนักงานที่มีทัศนคติดีต่อองค์การ แต่ยังขาดทักษะความรู้ในเชิงธุรกิจและทางการบริหาร สำหรับพนักงานในส่วนนี้จำเป็นต้องเสริมด้านการพัฒนาศักยภาพ ผู้บริหารควรจะพิจารณาส่งพนักงานกลุ่มนี้ได้รับการสัมมนา/อบรมเพิ่มเติมใน ส่วนที่เป็น gap จากพื้นฐานของพนักงานเป็นคนที่มีทัศนคติดีอยู่แล้ว จะมีส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาได้ง่ายขึ้นกว่าพนักงานกลุ่มอื่น

4.พนักงาน Dead Wood พนักงานในกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่มีปัญหาด้านความรู้ ความสามารถ และการเติบโตเป็นระดับหัวหน้าในอนาคต  ซึ่งพนักงานส่วนใหญ่ไม่ค่อยพัฒนาตนเอง มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อองค์การ มีปัญหากับหน้ามาตลอด ตามแนวทางของทฤษฎี ให้มีการลงโทษทางวินัย ถ้าไม่มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น บริษัทจะต้องมีมาตรการในการเลิกจ้างจากการเป็นพนักงาน เพื่อจะได้ไม่เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีของพนักงานในองค์การ

 

ที่มา :www.itforsme.net/knc_detail.php?id=615



00791 โดย ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ 2011-05-21 12:24:13 v : 4364



ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ

 

เว็บทางการศึกษา
ตรวจสอบความเร็วอินเตอร์เน็ต
ข่าว The Nation
ข่าว CNN
ข่าว BangkokPost


มูลนิธิทางไกrลผ่านดาวเทียม
บริการการเรียนการสอนทางไกล ผ่านดาวเทียม จากโรงเรียนไกลกังวล หัวหิน
มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ศูนย์กลางการศึกษาผ่านระบบเครือข่าย ครอบคลุมการศึกษาทุกระบบ
GURU Online
พัฒนาครูไทย มาตรฐานเท่าเทียม เรียนได้ทุกที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย
ก้าวย่างอย่างเข้าใจ
การจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรสถานศึกษา
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
ส่งเสริมให้ข้าราชการออมเงินไว้เพื่อใช้ในยามเกษียณอาย
KARN.TV
รวมความรู้ แบบฝึกหัด กิจกรรมเพิ่มทักษะ สำหรับอนุบาล - ประถมต้น
ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพื่อบริการประชาชน
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้บริการทั้งการสอบถามข้อมูล การรับเรื่องร้องเรียนและการให้บริการในการทำธุรกรรมที่เกี่ยวกับภาครัฐ ของทุกกระทรวง ทบวง กรม ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน
ห้องสมุด มสธ.
IGCSE ติว IELTS
TOEIC ติว GED
IELTS ติว TOEIC
TDC : Thai Digital Collection
สืบค้นงานวิจัย ฉบับเต็ม



 

เรียนพิเศษโคราช

พัฒนาระบบโดย
ธีรวัฒน์ ภู่เจริญ

จดโดเมน Host ออกแบบเว็บไซต์ Web Design

ครูอินเตอร์.คอม ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ ภาวะผู้นำ บริหารการศึกษา