องค์ประกอบของโรงเรียนที่ดี ( Eleven factors for effective schools )


องค์ประกอบของโรงเรียนที่ดี

( Eleven factors for effective schools )

 

                                                                                                                รองศาสตราจารย์สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์

                                                                                                               

 

                องค์ประกอบ 11 ประการของโรงเรียนที่ดี (Eleven  factors  for  effective  schools)

                               

1.             มีผู้นำมืออาชีพ

       (Professional leadership)

-รอบรู้และยึดมั่นในวัตถุประสงค์

-ใช้วิธีการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทุกด้าน

-เป็นผู้นำวิชาชีพที่ทรงความรู้และคุณธรรม

2.             มีวิสัยทัศน์และเป้าหมายร่วม

       (Shared vision and goals)

-มีวัตถุประสงค์เดียวกันของทุกฝ่าย

-มุ่งมั่น คงเส้นคงวาในการทำงานอย่างเชิงรุก

-เน้นทำงานแบบกัลยาณมิตรและการร่วมมือร่วมใจกัน

(Collegiality and collaboration)

3.             มีสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ที่ดี

(A learning environment)

-มีบรรยากาศน่าอยู่ น่าเรียนรู้และประเทืองปัญญา

-มีบรรยากาศของการทำงานที่ดี

4.             มุ่งเน้นการสอนและการเรียนรู้

(Concentration on teaching and

learning)

-กำหนดเวลาเรียนต่อปีสูงและใช้เวลาอย่างมีคุณภาพ

-เน้นงานด้านวิชาการ

-เน้นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

5.             ทำการสอนอย่างมีจุดมุ่งหมาย

(Purposeful teaching)

-เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงด้านการสอน/ การเรียนรู้

-มีวัตถุประสงค์ที่แจ่มชัด

-วัตถุประสงค์ของการสอนที่ยืดหยุ่นได้ดี

-จัดรูปแบบของบทเรียนได้ดี

6.             มีการตั้งความคาดหวังไว้สูง

       (High expectations)

-คาดหวังสูงในทุกเรื่อง

-มีการสื่อสารความคาดหวังให้ทุกคนทราบ

-สร้างความท้าทายทางปัญญาแก่นักเรียน ครูและบุคลากร

7.             ใช้การเสริมแรงเชิงบวก

        (Positive reinforcement)

-ยึดหลักความยุติธรรมและชัดเจนตรวจสอบได้

-มีระบบข้อมูลย้อนกลับให้ทราบผล

8.             มีการติดตามความก้าวหน้า

       (Monitoring progress)

-ติดตาม / ตรวจสอบความก้าวหน้าและผลการเรียนของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ

-ตรวจสอบ / ประเมินผลงานของโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ

 

9.             นักเรียนตระหนักในสิทธิและหน้าที่รับผิดชอบของตนเอง

(Pupil rights and responsibilities)

-พัฒนานักเรียนให้รู้จักการเคารพตนเอง(Self-esteem)

-สร้างนักเรียนให้เป็นผู้รู้หน้าที่และความรับผิดชอบ

-นักเรียนสามารถควบคุมตนเองและการทำงานอิสระด้วยตนเอง

10.      มีความรู้สึกรับผิดชอบร่วมกันระหว่างบ้านและโรงเรียน

       (Home-school partnership)

-ผู้ปกครองเอาใจใส่และเข้ามามีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุน ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน

 

11.      เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้

(A learning organization)

-กระตุ้นการเรียนรู้ตลอดเวลาของสมาชิกทุกคนของ      โรงเรียน ทุกคนทำตัวเป็นผู้เรียน (Learners)

-ใช้โรงเรียนเป็นฐานการพัฒนาครู อาจารย์

-ทำให้โรงเรียนเองเป็นองค์กรที่ปรับตัวและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาเช่นกัน

                ที่มา : ปรับปรุงจาก Simons et. al. 1995 : 3, In Law, S. & Olover Direk, G. Educational Leadership and Learning.  p. 149.



01188 โดย ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ 2011-12-08 11:34:04 v : 6148



ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ

 

เว็บทางการศึกษา
ตรวจสอบความเร็วอินเตอร์เน็ต
ข่าว The Nation
ข่าว CNN
ข่าว BangkokPost


มูลนิธิทางไกrลผ่านดาวเทียม
บริการการเรียนการสอนทางไกล ผ่านดาวเทียม จากโรงเรียนไกลกังวล หัวหิน
มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ศูนย์กลางการศึกษาผ่านระบบเครือข่าย ครอบคลุมการศึกษาทุกระบบ
GURU Online
พัฒนาครูไทย มาตรฐานเท่าเทียม เรียนได้ทุกที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย
ก้าวย่างอย่างเข้าใจ
การจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรสถานศึกษา
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
ส่งเสริมให้ข้าราชการออมเงินไว้เพื่อใช้ในยามเกษียณอาย
KARN.TV
รวมความรู้ แบบฝึกหัด กิจกรรมเพิ่มทักษะ สำหรับอนุบาล - ประถมต้น
ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพื่อบริการประชาชน
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้บริการทั้งการสอบถามข้อมูล การรับเรื่องร้องเรียนและการให้บริการในการทำธุรกรรมที่เกี่ยวกับภาครัฐ ของทุกกระทรวง ทบวง กรม ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน
ห้องสมุด มสธ.
IGCSE ติว IELTS
TOEIC ติว GED
IELTS ติว TOEIC
TDC : Thai Digital Collection
สืบค้นงานวิจัย ฉบับเต็ม



 

เรียนพิเศษโคราช

พัฒนาระบบโดย
ธีรวัฒน์ ภู่เจริญ

จดโดเมน Host ออกแบบเว็บไซต์ Web Design

ครูอินเตอร์.คอม ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ ภาวะผู้นำ บริหารการศึกษา